วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 การติดต่อสื่อสารทำได้ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ในโลก มีผู้รู้กล่าวว่าปัจจุบัน เป็น
ยุคของข่าวสารข้อมูลการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำได้กว้างขวางขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลก เป็นการเปลี่ยนแปลงในลักษณะ ทั้งโลกทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจการเมืองและสิ่งแวดล้อม ประเทศไทย เป็นสมาชิกของประเทศในโลกประเทศหนึ่ง ซึ่งได้มีการพัฒนาความสัมพันธ์ของประเทศในโลกมาเป็นลำดับ
อ่านเพิ่มเติม


การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศอ่านเพิ่มเติม



องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน

องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย
     1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un  commission  for human  rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47  ประเทศ  วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ
อ่านเพิ่มเติม


สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปัจเจกชนในรูปแบบต่างๆ  มานานรับจากประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนอีกหลายฉบับด้วยกัน เช่น อ่านเพิ่มเติม


ข้อตกลงระหว่างประเทศ

คำนิยามของคำว่า  ข้อตกลงระหว่างประเทศ  กับ  สนธิสัญญา  ทั้งสองคำนี้มีความหมายคล้วยคลึงกัน  แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อแตกต่างกันอยู่   ในประเด็นข้อกฏหมายต่างๆ  ดังจะกล่าวต่อไปนี้อ่านเพิ่มเติม


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ

    กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องบุคคล ทรัพย์สิน นิติกรรม สัญญา ละเมิด ครอบครัว และมรดก ที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย
     กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับความผิดและโทษ โดยกำหนดผู้กระทำผิดจะได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด 
อ่านเพิ่มเติม


ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์

ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น  เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้อ่านเพิ่มเติม